สะเต็มศึกษา นวัตกรรมการเรียนการสอนในยุคดิจิทัล
นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา แขนงวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
การบูรณาการเทคโนโลยีที่เหมาะสมสู่กระบวนการเรียนรู้ของนักเรียน โดยการนำสื่อมาใช้ในการจัดการเรียนการสอนในยุคไทยแลนด์ 4.0 ผู้สอนได้รับการพัฒนาให้สามารถผลิตสื่อขึ้นเองเพื่อใช้จัดการเรียนการสอนในชั้นเรียนซึ่งใช้โปรแกรมต่าง ๆ ได้แก่ Scratch, GeoGebra, HyperSnap และ Adobe Captivate เป็นต้น และผู้เรียนสามารถใช้สื่อสังคมในการเรียนรู้ทั้งเป็นสื่อหลัก สื่อเสริม และสื่อเพิ่มเติม ได้แก่ weblogs, Social Networking, Wiki, Virtual Worlds, Cloud computing, LINE, YouTube, Facebook, Twitter เป็นต้น เพื่อเตรียมความพร้อมให้นักเรียนเข้าสู่โลกของเทคโนโลยียุคดิจิทัล
อ้างอิง
จันทวรรณ ปิยะวัฒน์ (2561) “บล็อก (Blog or Weblog) คืออะไร”บทความออนไลน์ ค้นคืนวันที่ 5 มิถุนายน 2561 จาก https://www.gotoknow.org/user/jantawan/profile
ปัณญานัตย์ วิเศษสมวงศ์ (2561) “ส่วนอาเซียนสำนักการประชาสัมพันธ์ต่างประเทศ” บทความออนไลน์
จาก http://www.aseanthai.net/special-news-detail.php?id=127)
พรทิพย์ ศิริภัทราชัย (2556) “STEM Education กับการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21” วารสารนักบริหาร
Executive Journal ปีที่ 33 ฉบับที่ 2 เมษายน-มิถุนายน 2556 บทความออนไลน์ ค้นคืนวันที่ 5
มิถุนายน 2561 จาก http://www.bu.ac.th/knowledgecenter/
สุทธิพร ใจกว้าง (2560) “ทำไมต้องเป็นการเรียนรู้แบบสะเต็ม”บทความออนไลน์ ค้นคืนวันที่ 5 มิถุนายน
2561 จาก http://mcpswis.mcp.ac.th/
ศุภณัฐ ชัยดี (2015) “GeoGebra เพื่อชีวิตที่ดีกว่าสำหรับชาวคณิตศาสตร”บทความออนไลน์ ค้นคืนวันที่
5 มิถุนายน 2561 จาก https://schaidee.files.wordpress.com/2015/
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น